• Shuffle
    Toggle On
    Toggle Off
  • Alphabetize
    Toggle On
    Toggle Off
  • Front First
    Toggle On
    Toggle Off
  • Both Sides
    Toggle On
    Toggle Off
  • Read
    Toggle On
    Toggle Off
Reading...
Front

Card Range To Study

through

image

Play button

image

Play button

image

Progress

1/20

Click to flip

Use LEFT and RIGHT arrow keys to navigate between flashcards;

Use UP and DOWN arrow keys to flip the card;

H to show hint;

A reads text to speech;

20 Cards in this Set

  • Front
  • Back
  • 3rd side (hint)

N1はN2です

わたしはミラーです


わたしはエンジニアです

คำช่วย は คำนามที่อยู่ข้างหน้าเป็นหัวเรื่องของประโยค



です ทำหน้าที่เป็นภาคแสดงและคำปิดท้ายประโยคแบบสุภาพ

N1はN2じゃ ありません

サントスさんは学生じゃ ありません


        (では)

การทำประโยคให้เป็นรูปปฏิเสธ



では จะเป็นคำที่สุภาพกว่า じゃ

ประโยคか

ミラーさんアメリカ人ですか


…はい、アメリカ人です


…いいえ、アメリカ人じゃ ありません



あの 方は どなたですか


…[あの 方] ミラーさんです

การทำประโยคคำถาม

N1のN2

ミラーさんは imcの 社員です

คำนาม 1 ขยายคำนาม 2


คำนาม 1 เป็นต้นสังกัดของคำนาม 2

これ/それ/あれ

それは 辞書ですか


これは ください

เป็นคำใช้บ่งชี้สิ่งของ


これใช้กล่าวถึงสิ่งของที่อยู่ใกล้ตัวผู้พูด


それไช้กล่าวถึงสิ่งของที่อยู่ใกล้ตัวผู้ฟัง


あれใช้กล่าวถึงสิ่งของที่อยู่ไกลจากทั้งผู้


พูดและผู้ฟัง

このN/そのN/あのN

この 本は わたしのです


あの 方は どなたですか

このN กล่าวถึงสิ่งของหรือคนที่อยู่ใกล้ผู้


พูด


そのN กล่าวถึงสิ่งของหรือคนที่อยู่ใกล้ผู้


ฟัง


あのN กล่าวถึงสิ่งของหรือคนที่อยู่ไกล


จากผู้พูดและผู้ฟัง

そうです/そうじゃ ありません

それは テレホンカードですか


…はい、そうです


…いいえ、そうじゃ ありません


…いいえ、違います

そう การตอบรับ



そうじゃ ありませんสามารถใช้คำตอบที่มีความหมายเหมือนกันคือ 違います

ประโยค1か、ประโยค2か

これは[7]ですか、[9]ですか


…[9]です

เป็นประโยคคำถามที่ให้เลือกเอาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจากสิ่งของ 2 สิ่ง(หรือมากกว่า)

N1のN2

これは コンピューターの本です


これは わたしの本です


あれは だれの かばんですか


…さとうさんのです

1คำนาม 1 บอกเนื้อหารายละเอียดของคำ


นาม 2 ว่าเกี่ยวกับอะไร



2คำนาม 1 อธิบายว่าใครเป็นเจ้าของ


คำนาม 2



3ถ้าคำนาม 2 เป็นที่เข้าใจกันแล้วว่ากล่าวถึงสิ่งใดสามารถละไว้ได้ ถ้าคำนาม 2 หมายถึงบุคคลจะละไม่ได้

ここ/そこ/あそこ/こちら/そちら/


あちら

ここสถานที่ที่ตัวผู้พูดอยู่


そこสถานที่ที่ตัวผู้ฟังอยู่


あそこสถานที่ที่กลทั้งตัวผู้ฟังและผู้พูด



こちら/そちら/あち


เป็นนิยมสรรพนามบอกทิศทางและเป็นคำสุภาพของ ここ/そこ/あそこ

กรณีที่ผู้พูดถือเอาผู้ฟังเป็นฝ่ายตัวเองสถานที่ที่ทั้งสองฝ่ายอยู่คือ ここ และห่าง


ออกไปหน่อย そこ และไกลออกไปอีก


あそこ

N1はN2(สถานที่)です

お手洗いは あそこです


電話は 2階です


山田さんは 事務所です

รูปประโยคแสดงถึงสถานที่อยู่ของ สิ่งของสถานที่ และบุคคล

どこ/どちら

お手洗いは どこですか


…あそこです


エレベーターは どちらですか


…あちらです



学校は どこですか


会社は どちらですか

どこ ใช้บ่งชี้สถานที่


どちら ใช้บ่งชี้ทิศทางแสดงการเป็นรูป


ประโยคคำถาม



นอกจากนั้นหากถามถึงสังกัดหรือสถานที่เช่น ประเทศ บริษัท หรือโรงเรียนจะไม่ใช้คำแสดงคำถาม なん แต่จะใช้ どこ、


どちら

N1のN2

これは どこの コンピューターですか


…日本の コンピューターです


…IMCの コンピューターです

กรณีที่คำนาม 1 เป็นชื่อประเทศและคำนาม 2 เป็นผลิตภัณฑ์สินค้าคำนาม 1 จะแสดงการเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าของประเทศนั้น



หากคำนาม 1 เป็นชื่อบริษัทคำนาม 2 เป็นผลิตภัณฑ์สินค้าคำนาม 1 จะแสดงการเป็นผลิตภัณฑ์สินค้าของบริษัทนั้น

今、ー時、ー分です

今 何時ですか


…7時 10ぷんです



ニューヨークは 今 何時ですか


…午前 4時です

จะอ่านว่า ふん เมื่อมีเลข 2,5,7,9


จะอ่านว่า ぷん 1,3,4,6,8,10


และเลข 1,6,8,10 จะอ่านได้ดังนี้


いっ、ろっ、はっ、じゅっ(じっ)

V ます

わたしは 毎日 勉強します

คำกริยาます ทำหน้าที่เป็นภาคแสดง


และเป็นคำสุภาพ

Vます/ Vません/ Vました/


Vませんでした

おきます、おきません、おきました、


おきませんでした



きのう 勉強しましたか


…はい、勉強しました


…いいえ、勉強しませんでした



毎朝 何時に 起きますか


…6時に 起きます

Vます จะแสดงการกระทำที่เกิดขึ้นในอนาคต หรือการกระทำที่เป็นประจำ หรือข้อเท็จจริง กรณีปฏิเสธ หรือ แสดงกาลเวลาในอดีตกาลหางคำจะเปลี่ยนไป

N(เวลา)に V

6時半に 起きます


7月2日に 日本へ 来ました


日曜日 [に] 奈良へ 行きます


きのう 勉強しました

คำช่วย に ใช้แสดงจุดเวลาของการกระทำที่เกิดขึ้น


に ใช้กับประโยคเวลาที่มีตัวเลขแสดง หากไม่มีตัวเลขจะไม่ใช้ แต่สำหรับวันจะใช้หรือไม่ใช้ก็ได้

N1から N2まで

9時から 5時まで 働きます



大阪から 東京まで 3時間


かかります



9時から 働きます



銀行は 9時から 3時までです


昼休みは 12時からです

からใช้บอกจุดเริ่มต้นของเวลา และสถานที่ まで ใช้บอกจุดจบของเวลา และสถานที่



ไม่จำเป็นต้องใช้ から และまで ด้วยกันเสมอไป



เลือกใช้ です หลังคำ 〜から、〜までหรือ〜から 〜までแบบใดก็ได้เพื่อจบประโยค

N1とN2

銀行の 休みは 土曜日と 日曜日です

คำนามเรียงตามกัน จะใช้ と เชื่อมระหว่างคำนามนั้นๆ

ประโยคね

毎日 10時ごろまで 勉強します。


…大変ですね。

ね แสดงความรู้สึกต่อเรื่องที่สนทนา ผู้พูดมีความรู้สึกเป็นอย่างเดียวกัน หรือหวังที่จะได้รับการยืนยันหรือเห็นชอบจากคู่สนทนา