• Shuffle
    Toggle On
    Toggle Off
  • Alphabetize
    Toggle On
    Toggle Off
  • Front First
    Toggle On
    Toggle Off
  • Both Sides
    Toggle On
    Toggle Off
  • Read
    Toggle On
    Toggle Off
Reading...
Front

Card Range To Study

through

image

Play button

image

Play button

image

Progress

1/62

Click to flip

Use LEFT and RIGHT arrow keys to navigate between flashcards;

Use UP and DOWN arrow keys to flip the card;

H to show hint;

A reads text to speech;

62 Cards in this Set

  • Front
  • Back

หลักเกณฑ์ที่ดีในการผลิตยาไร้เชื้อ

ให้ปนเปื้อน จุลินทรีย์ อนุภาค ไพโรเจน น้อยที่สุด

วิธีการผลิตยาปราศจากเชื้อ มี 2วิธี

1. กระบวนการปราศจากเชื้อ (Aseptic technique)


2. ปราศจากเชื้อในขั้นตอนสุดท้าย (Terminally sterilized)

กระบวนการปราศจากเชื้อ (Aseptic technique)


ข้อเสียคือ

ไม่มีการทำให้ปราศจากเชื้อในขั้นตอนสุดท้าย


ค.เสี่ยง=1/1000

ปราศจากเชื้อในขั้นตอนสุดท้าย (Terminally sterilized)


ใช้เครื่องมือ

ตู้อบฆ่าเชื้อด้วยไอน้ำ (autoclave)


หลังปิดผนึกเรียบร้อย


ค.เสี่ยง = 1/1,000,000


**ใช้วิธีนี้ดีกว่า**

บริเวณสะอาด (Clean area) คือ

ควบคุมการปนเปื้อนของ อนุภาค และ จุลินทรีย์

บริเวณปราศจากเชื้อ (Aseptic area) คือ

อยู่ใน Clean area ที่ออกแบบเพื่อป้องกันการปนเปื้อนจุลินทรีย์

Air lock ประโยชน์คือ

ควบคุมการไหลของอากาศระหว่างห้อง

"ไม่มีการปฏิบัติงาน (At rest)" ต่างกับ "กำลังปฏิบัติงาน (In operation)" อย่างไร

"ไม่มีการปฏิบัติงาน (At rest)" = มีเครื่องไม่มีคน


"กำลังปฏิบัติงาน (In operation)" = มีทั้งเครื่องและคน


ต้องมีการระบุระดับตลอด

บริเวณผลิตยาปราศจากเชื้อ มีกี่ระดับ

4 ระดับ


A , B , C , D

ระดับ A คือ

ปราศจากเชื้อ 3 อย่าง


เช่นตู้ Larminar air flow และ Isolators


Larminar air flow มีค.เร็วเท่าไร

0.36-0.54 เมตร/วินาที

ระดับ B คือ

ใช้ล้อม A

ระดับ A ใช้เมื่อ

เมื่อแอมพูลและไวแอลเปิดอยู่


ประกอบอุปกรณ์ปราศจากเชื้อ


ต้องใช้น้ำยาฆ่าเชื้ออย่างไร

บนลงล่าง ในออกนอก

Media fill test คือ

จำลองการผลิตโดยใช้ตัวอื่นที่ไม่ใช่ยาแทน (แลคโตส,PEG)

Clean up period คืออะไร

จน.อนุภาคกลับสู่สถานะ "ไม่มีการปฏิบัติงาน" ภายใน 15-20 นาที


ซึ่งต้องมีในระดับ B , C , D

การปฏิบัติงานในแต่ละความสะอาด

การทำปราศจากเชื้อในขั้นสุดท้าย


เตรียมส่วนประกอบในระดับ

D


แต่ถ้าเสี่ยงปนเปื้อนมาก ก็ระดับ C

การทำปราศจากเชื้อในขั้นสุดท้า


บรรจุผลิตภัณฑ์ในระดับ

C

การทำปราศจากเชื้อในขั้นสุดท้า


การบรรจุที่เสี่ยงปนเปื้อนจากสิ่งแวดล้อม


(ทำช้า,ปากกว้าง,เปิดนาน2-3วิ) ใช้ระดับ

A ที่ล้อมด้วย C

การทำปราศจากเชื้อในขั้นสุดท้า


ขี้ผึ้ง ยาแขวนตะกอน อิมัลชัน ทำในระดับใดก่อนขั้นตอนสุดท้าย

C

Aseptic technique


ส่วนที่ผ่านการล้างเก็บในระดับ

D

Aseptic technique


วัตถุดิบ และ ส่วนประกอบปราศจากเชื้อเก็บในระดับ

A ที่ล้อมด้วย B

Aseptic technique


การเตรียมโดยการกรองในระดับ

C


แต่ถ้าไม่ผ่านกรอง ระดับ A ล้อมด้วย B

Aseptic technique


การผลิตและบรรจุในระดับ

A ล้อมด้วย B

Aseptic technique


เคลื่อนย้ายแบบไม่ปิดฝา ต้องอยู่ในระดับ

A ล้อมด้วย B

Aseptic technique


เตรียมขี้ผึ้ง ครีม แขวนตะกอน อิมัลชัน


ในระดับ

A ล้อมด้วย B

การตรวจติดตามทำได้อย่างไรบ้าง

#การวางจานอาหารเพาะเลี้ยงเชื้อ(settle plate)


#การสุ่มตัวอย่างในอากาศ(air sampling)


#การสุ่มตย.ที่ผิว(surface sampling)


**การสุ่มต้องไม่กระทบกับค.สะอาดบริเวณสุ่ม**

การวางจานเพาะเชื้อ (Settle plate)

วางตามจุดบนแผนผัง


จุดวิกฤตวาง 2 อัน นาน 30 นาที

การเก็บตย.จากอากาศ (volumetric air sampling) ทำอย่างไร

วัดปริมาณอากาศที่ตกกระทบบนผิวของอาหารเลี้ยงเชื้อ ไม่ควรเกิน 5 โคโลนี/ลบ.เมตร

จานสัมผัสเชื้อ (Contact plates)


ทำอย่างไร

เอาอาหารไปกดต้องพื้นผิวแล้วเอามา incubate (เหมาะกับผิวเรียบ)

การ Swab ทำอย่างไร

เอา Swab ไปเช็ดผิวแล้วเอามาจุมในจานเลี้ยงเชื้อ (เหมาะกับผิวโค้งนูน)

หลังการ Contact plated กับ Swab ต้องทำอะไร

เช็คด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ ป้องกันการตกค้างอาหารเลี้ยงเชื้อ

Isolator Technology มีประโยชน์อย่างไร

ลดคนในบริเวณปฏิบัติการ


ต้องตั้งอยู่ในระดับ D

Isolator Technology ต้องระวังอะไรที่จะทำให้เกิดการปนเปื้อน

การเคลื่อนขนถ่ายของเข้าและออก

การเป่าขึ้นรูปบรรจุปิดผนึกในเครื่องเดียว ต้องตั้งในระดับ

C (Aseptic technuq) , D (Terminal)


เครื่องแต่งกาย A หรือ B

การเป่าขึ้นรูปบรรจุปิดผนึก ขณะ "กำลังปฏิบัติงาน" กำหนดขีดจำกัดอะไรบ้าง

กำหนดเฉพาะ จำนวนเชื้อ ไม่กำหนด อนุภาค


*แต่ "ไม่มีการปฏิบัติงาน" กำหนดทั้ง จำนวนเชื้อ และ อนุภาค

การตรวจสอบ การเป่าขึ้นรูปบรรจุปิดผนึก ดูอะไรบ้าง

2 อย่าง


1. Clean-in-place


2. Sterile-in-place

พวกเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จุลินทรีย์ ห้ามเข้าในยาปราศจากเชื้อ

จำาาา

อาคารสถานที่ คุณลักษณะ

ผิวภายใน เรียบ ไม่ดูดซึมน้ำ ไม่แตกร้าว ไม่มีซอกมุม ไม่มีขอบยื่นจากผนัง ไม่ควรใช้ประตูบานเลื่อน


ฝ้าเพดานเชื่อมปิดสนิท


ระดับ A , B ต้องม่มีอ่างและท่อน้ำทิ้ง


ห้องระดับ A มีความดัน

Positive pressure

ห้องสารที่เป็นพิษ มีรังสี ก่อโรค ความดันเป็น

Negative pressure

น้ำยาฆ่าเชื้อต้องหมุนเวียน


ระดับ A , B น้ำยาฆ่าเชื้อต้องทำให้ปราศจากเชื้อ


รมควันสะอาดทุกซอกมุม


วัตถุดิบระดับ injection grade

แผ่นกรอง 0.2 ไมครอน ใช้เพื่อ

กรองปราศจากเชื้อ ให้ใส่สะอาดยิ่งยวด

แผ่นกรอง 0.45 ใช้เพื่อ

ลดปริมาณเชื้อแบคทีเรีย และ ขจัดผง

แผ่นกรอง 0.65 ใช้เพื่อ

ขจัดพวก ยีส

Bubble point ในแผ่นกรองมีประโยชน์อย่างไร

กักน้ำไม่ห้ไหลออก


ไม่ควรใช้ค.ดันสูงกว่า bubble point ป้องันการเกิดฟอง

การตรวจ กระบวนการทำให้ปราศจากเชื้อว่าผ่านหรือไม่ ใช้อะไร

Biological indicators

การทำให้ปราศจากเชื้อมีวิธีอะไรบ้าง

#ความร้อนชื่น


#ความร้อนแห้ง


#รังสี


#เอทธิลีนออกไซด์


#กรอง

ความร้อนชื้นต้องวัดอะไรควบคู่กับอุณหภูมิ

ความดัน


**ระวังไอน้ำไม่ให้มีสิ่งเจื่อปน**

ความร้อนแห้ง ตั้งความดันให้สูงกว่าภายนอกเพื่อ

ป้องกันอากาศภายนอกที่มีเชื้อเข้ามา

อากาศที่จะเข้า เครื้องควาทร้อนแห้งต้องผ่าน

HEPA filter

ถ้าจะใช้ความร้อนแห้งกำจัด ไพโรเจน ต้องทดสอบด้วย

Endotoxin

เราตะใช้รังสีเมื่อ

วัสดุไม่ทนความร้อน

เพื่อกันการปะปนระหว่างวัสดุที่ผ่านการฉายรังสีกะบยังไม่ผ่าน ใช้อะไร

แผ่นสีที่ไวต่อรังสี

เราจะใช้ เอทธิลีนออกไซด์ เมื่อ

ใช้วิธีอื่นไม่ได้

ติดตามผลเอทธิลีนออกไซด์ ด้วย

Biological indicators

สารที่ผ่านเอทธิลีนออกไซด์ ต้องเก็บอย่างไร

เก็บในสภาวะควบคุมที่มีการระบายอากาศเพื่อให้ก๊าซที่หลงเหลืออยู่น้อย

แผ่นกรอง 0.22 ไมครอนกำจัดอะไรได้บ้าง ไม่ได้บ้าง

กำจัดแบคทีเรียและราได้


กำจัดไวรัส,มัยโคพลาสมา ไม่ได้

ควรมีการกรองครั้งที่2เพราะ

วิธีการกรองมีความเสี่ยงมากกว่าวิธีอื่น

แผ่นกรองต้องมีคุณลักษณะ

ปล่อยเส้นใยออกมาให้น้อยที่สุด (nitrocellulose)

การปิดฝาอะลูมิเนียมต้องระวังอะไร

อาจก่อให้เกิดอนุภาคจำนวนมากได้ ต้องแยกส่วนอย่างชัดเจนจากการผลิต จึงต้องทำในระดับ A