• Shuffle
    Toggle On
    Toggle Off
  • Alphabetize
    Toggle On
    Toggle Off
  • Front First
    Toggle On
    Toggle Off
  • Both Sides
    Toggle On
    Toggle Off
  • Read
    Toggle On
    Toggle Off
Reading...
Front

Card Range To Study

through

image

Play button

image

Play button

image

Progress

1/109

Click to flip

Use LEFT and RIGHT arrow keys to navigate between flashcards;

Use UP and DOWN arrow keys to flip the card;

H to show hint;

A reads text to speech;

109 Cards in this Set

  • Front
  • Back
  • 3rd side (hint)
Antibact spectrum
Broad spectrum
Narrow spectrum
Antibacterial agent
Bacteriacidal : kill in proliferation
Bacteriostatic : inh การแบ่งตัวของแบคทีเรีย แต่ไม่เหมาะกับคน immune ต่ำ
การให้ยากรณีติดหลายๆเชื้อ
Cidal + cidal > protentiate ออกฤทธิ์ มากกว่า 2 เท่า

Cidal + static > antagonistic ฤทธิ์ลดลง ไม่นิยมใช้

Static + static > ฤทธิ์เพิ่มน้อยกว่า 2 เท่า
การทดสอบยาที่จำเพาะต่อเชื้อ
1. Disk diffusion : most common
- วางแผ่นชุบยาลงบน plate
- ดู clear zone : >= 6 mm ยาไวต่อเชื้อ ถ้าวงรอบเชื้อขุ่นคือเชื้อดื้อยา
- แต่จะไม่ทราบขนาดยาที่แน่นอน

2. Serial dilution :ใช้เวลานาน แต่รู้ dose
- หลอดใสหลอดแรกคือ MIC ( ค.เข้มข้นน้อยสุดที่ยามีฤทธิ์ inh bact )

- นำหลอดที่ใสทุกหลอดมาเพาะเชื้อต่อ หลอดที่ใสหลอดแรก หรือ plate ที่เชื้อไม่ขึ้น คือ MAC
มี 2 แบบ
ชนิดของ antibacterial
- inh cell wall synthesis
- inh cell membrane function
- inh protein synthesis
- inh nucleic acid metabolism / synthesis
Inh cell wall synthesis
- beta lactam ring
- glycopeptide
- other
Drug in Bata lactam ring gr.
Penicillin, cephalosporin, carbapenem
มี 3 ตัว
กลไกการออกฤทธิ์ของ beta lactam
Inh. Cross link ของ peptidoglycam โดย penicillin binding protine จะไปจับที่ enz. Transpeptidase ทำให้ไม่สามารถเชื่อมสาย peptidoglycan ได้ >> ไม่เกิดการสร้าง cell wall >> แบคตาย
การออกฤทธิ์กับ แบคแกรมบวกและลบ ของ beta lactam class
Gram + : ออกฤทธิ์ได้ดี
Gram - : ออกฤทธิ์ได้ไม่ดี เนื่องจาก มี lipopolysaccharide ( LPS ) เป็นสปก. หลัก
Bact ที่ดื้อยาจะสร้าง enz ใด มาทำลายส่วนใดของยา และส่วนนั้นมีความสำคัญอย่างไร
แบคที่ดื้อยาจะสร้าง enz beta lactamase มาทำลาย beta lactam ring ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการออกฤทธิ์ของยา ถ้าไม่มียาก็ออกฤทธิ์ไม่ได้
Penicillin มี 4 generation
- natural penicillin
- aminopenicillin
- penicillase resistant penicillin or antipenicillase penicillins
- antipseudomonas penicillin
Natural penicillin มี 2 รูปแบบ
Pen G : ฉีด

Pen V : กิน
Nat penicillin จำเพาะต่อ..... และเชื้อทำให้เกิด....
จำเพาะ ต่อ streptococcus, staphylococcus ทำให้เกิด ฝี หนอง soft tissue infection และ ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน เช่น rhinitis tonsilitis sinusitis
Nat penicillin ใช้รักษา
- Syphilis จาก treponema pallidum
- bacillus anthracis
- leptospira>> ฉี่หนู
ข้อเสียของ natural penicillin
- Pen G, V ฆ่าเชื้อแกรม neg ไม่ค่อยได้ผล
- โดยเฉพาะ pen G ออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็ว ต้องฉีดหลายรอบ
ข้อเสียของ natural penicillin
- Pen G, V ฆ่าเชื้อแกรม neg ไม่ค่อยได้ผล
- โดยเฉพาะ pen G ออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็ว ต้องฉีดหลายรอบ
แก้ไขการออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็วของ nat pen ยังไง
- Pen G ผสม benzathine หรือ cocain เพื่อให้ค่อยๆ ปล่อย pen G

- pen V : จะถูกทำลายจากกรดในกระเพราะอาหาร ควรกินตอนท้องว่าง
ข้อเสียของ natural penicillin
- Pen G, V ฆ่าเชื้อแกรม neg ไม่ค่อยได้ผล
- โดยเฉพาะ pen G ออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็ว ต้องฉีดหลายรอบ
แก้ไขการออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็วของ nat pen ยังไง
- Pen G ผสม benzathine หรือ cocain เพื่อให้ค่อยๆ ปล่อย pen G

- pen V : จะถูกทำลายจากกรดในกระเพราะอาหาร ควรกินตอนท้องว่าง
ทำไมดีขึ้นแล้วถึงต้องเพิ่มขนาด nat pen
ร่างกายดีขึ้น BBB ก็ดีขึ้น ยาจึงผ่านเข้าไปในสมองได้ลดลง จึงต้องเพิ่มขนาดยาถ้าต้องการให้ยาเข้า BBB ในขนาดเท่าเดิม
Aminopenicillin แตกต่าง จาก nat pen อย่างไร
ยาที่เติม amino gr ลงไปในสูตรโครงสร้าง เพื่อให้สามารถออกฤทธิ์ได้กว้างขึ้น และทนกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น
ข้อเสียของ natural penicillin
- Pen G, V ฆ่าเชื้อแกรม neg ไม่ค่อยได้ผล
- โดยเฉพาะ pen G ออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็ว ต้องฉีดหลายรอบ
แก้ไขการออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็วของ nat pen ยังไง
- Pen G ผสม benzathine หรือ cocain เพื่อให้ค่อยๆ ปล่อย pen G

- pen V : จะถูกทำลายจากกรดในกระเพราะอาหาร ควรกินตอนท้องว่าง
ทำไมดีขึ้นแล้วถึงต้องเพิ่มขนาด nat pen
ร่างกายดีขึ้น BBB ก็ดีขึ้น ยาจึงผ่านเข้าไปในสมองได้ลดลง จึงต้องเพิ่มขนาดยาถ้าต้องการให้ยาเข้า BBB ในขนาดเท่าเดิม
Aminopenicillin แตกต่าง จาก nat pen อย่างไร
ยาที่เติม amino gr ลงไปในสูตรโครงสร้าง เพื่อให้สามารถออกฤทธิ์ได้กว้างขึ้น และทนกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น
Amino pen มีอะไรบ้าง
Amipicillin
Amoxicillin
ข้อเสียของ natural penicillin
- Pen G, V ฆ่าเชื้อแกรม neg ไม่ค่อยได้ผล
- โดยเฉพาะ pen G ออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็ว ต้องฉีดหลายรอบ
แก้ไขการออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็วของ nat pen ยังไง
- Pen G ผสม benzathine หรือ cocain เพื่อให้ค่อยๆ ปล่อย pen G

- pen V : จะถูกทำลายจากกรดในกระเพราะอาหาร ควรกินตอนท้องว่าง
ทำไมดีขึ้นแล้วถึงต้องเพิ่มขนาด nat pen
ร่างกายดีขึ้น BBB ก็ดีขึ้น ยาจึงผ่านเข้าไปในสมองได้ลดลง จึงต้องเพิ่มขนาดยาถ้าต้องการให้ยาเข้า BBB ในขนาดเท่าเดิม
Aminopenicillin แตกต่าง จาก nat pen อย่างไร
ยาที่เติม amino gr ลงไปในสูตรโครงสร้าง เพื่อให้สามารถออกฤทธิ์ได้กว้างขึ้น และทนกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น
Amino pen มีอะไรบ้าง
Amipicillin : ดื้อเกือบหมด
Amoxicillin
คุณสมบัติของ aminopenicillin
- ฆ่าได้ทั้งแกรมบวกและแกรมลบ
- แต่ต้านเชื่อพวก pseudo ไม่ได้
- ใช้ในรูปแบบกินได้
Penicillinase resistant penicillin
- ทนต่อ penicillase ที่เชื้อสร้างมาทำลายยา ( ทำลาย Beta lactam ring ของยา )
- methicillin : สามารถฆ่าเชื้อ S.aureus แต่เชื้อดื้อยา เรียก methicillin resistant staphylococcus aureus ( MRSA )
Penicillinase resistant penicillin
- ทนต่อ penicillase ที่เชื้อสร้างมาทำลายยา ( ทำลาย Beta lactam ring ของยา )
- methicillin : สามารถฆ่าเชื้อ S.aureus แต่เชื้อดื้อยา เรียก methicillin resistant staphylococcus aureus ( MRSA )
MRSA คืออะไร และส่งผลกระทบอย่างไร
คือ เชื้อที่ใช้ methicillin แล้วดื้อยา ทำให้ใช้ยาที่มี beta lactam ring ไม่ได้ผล ต้องใช้ยากลุ่ม vancomycin
Methicillin resistant staphylococcus aureus
Penicillinase resistant penicillin
- ทนต่อ penicillase ที่เชื้อสร้างมาทำลายยา ( ทำลาย Beta lactam ring ของยา )
- methicillin : สามารถฆ่าเชื้อ S.aureus แต่เชื้อดื้อยา เรียก methicillin resistant staphylococcus aureus ( MRSA )
MRSA คืออะไร และส่งผลกระทบอย่างไร
คือ เชื้อที่ใช้ methicillin แล้วดื้อยา ทำให้ใช้ยาที่มี beta lactam ring ไม่ได้ผล ต้องใช้ยากลุ่ม vancomycin
Methicillin resistant staphylococcus aureus
ยากลุ่ม Antipseudomonas penicillin มีอะไรบ้าง มีคุณสมบัติอย่างไร
- carbicillin, ticacillin และ piperacillin
- เป็น gen เดียวที่สามารถฆ่าเชื้อ pseydo ได้
Pharmacokinetic ของยากลุ่ม penicillin
- ดูดซึมได้ดี มีทั้งกินและฉีด
- กระจายตัวได้ดีทั้งใน tissue และ body fluid >> รักษาได้ทั้ง ติดเชื้อในกระแสเลือดและ intracellular pathogen
- กำจัดออกทางไต >>10% ขับทาง glomerular filtration
>> 90% ทาง tubular
Pharmacokinetic ของยากลุ่ม penicillin
- ดูดซึมได้ดี มีทั้งกินและฉีด
- กระจายตัวได้ดีทั้งใน tissue และ body fluid >> รักษาได้ทั้ง ติดเชื้อในกระแสเลือดและ intracellular pathogen
- กำจัดออกทางไต >>10% ขับทาง glomerular filtration
>> 90% ทาง tubular
การที่ penicillin ถูกขับออกทาง tubular เยอะ ทำให้
ยาที่ถูกขับทาง tubular เหมือนกัน เช่น probenecid ถูกขับออกไปแทน penicillin ส่งผลให้มียาใน Bl เพิ่มมากขึ้น
Adverse reaction ของ penicillin
- Hypersen type 1 : anaphylactic shock
- high dose ใน renal failure >> ชัก
- ไม่ควรให้ยาเป็น broad นานๆ เพราะจะฆ่า NF
- ให้ยาพร่ำเพรื่อ >> ดื้อยา
- nafcillin, methicillin ให้ใน cellulitis infection ได้ ถ้าไม่แพ้
- ถ้าแพ้ penicillin ต้องให้ adrenaline
Cephalosporin
เหมือน penicillin แต่ inh แบคทำให้ไม่สามารถต่อ peptidoglycan เป็นสายยาว
Crphalosporin มี 4 generation
1. First gen: cefazolin, cephalexin ไวต่อแบค +, มากกว่า -
ทนกรดได้ดี ผ่าน CSF ได้น้อย เข้า BBB ได้น้อย ทนต่อ enz ที่เชื้อสร้างมาทำลายยาได้น้อย ใช้เหมือน pen ใช้ในห้องผ่าตัดเยอะ

2. Second gen : cefoxitin ทนต่อ enz ได้ดีขึ้น
ผ่าน BBB ดีขึ้น ทนกรดดีขึ้น ทำลายทั้ง แกรมบวกและแกรมลบ

3: third gen : cefotaxime, ceftriaxone, cefoperazon, ceftazidime มีทั้งฉีด กิน หยอด ฆ่าแกรมบวกลบได้ดี และ ฆ่า pseudo ได้ ผ่าน CSF และ BBB ได้ดี เป็นdrug of choice : community acquire pneumonia

4.fourth gen ดีหมด แต่ราคาแพง
Adverse ของ cephalosporin
- เหมือน penicillin
- cefamandole, cefmetazole, cefotetan, cefoparazone : methylthiotetrazole group รบกวนการดูดซึม vit k ทำให้เลือดไหลไม่หยุด >> ต้องให้ vit k supplement
- ถ้าให้ร่วมกับ vancomycin, aminoglycoside >> nephrotoxic
การป้องกัน การดื้อยากลุ่ม Beta lactam
ให้ beta lactamase inhibitor ป้องกันการทำลาย beta lactam ring ไม่มีฤทธิ์ต้านเชื้อถ้าใช้เดี่ยวๆ
การป้องกัน การดื้อยากลุ่ม Beta lactam
ให้ beta lactamase inhibitor ป้องกันการทำลาย beta lactam ring ไม่มีฤทธิ์ต้านเชื้อถ้าใช้เดี่ยวๆ
Beta lactamase inhibitor
Clavulanic acid : เป็นยาแบบ suicide inhibitor >> ทำให้ไม่เหลือ bata lactamase ไปทำลายยา
- มีการใช้ร่วมกับ amoxicillin ( augmentin )

ให้ piperacillin คู่กับ Tazobactam หรือ sulbactam กรณีเป็นยาฉีด
การป้องกัน การดื้อยากลุ่ม Beta lactam
ให้ beta lactamase inhibitor ป้องกันการทำลาย beta lactam ring ไม่มีฤทธิ์ต้านเชื้อถ้าใช้เดี่ยวๆ
Beta lactamase inhibitor
Clavulanic acid : เป็นยาแบบ suicide inhibitor >> ทำให้ไม่เหลือ bata lactamase ไปทำลายยา
- มีการใช้ร่วมกับ amoxicillin ( augmentin )

ให้ piperacillin คู่กับ Tazobactam หรือ sulbactam กรณีเป็นยาฉีด
กลุ่ม others beta lactam
ยา antibact กลุ่ม glycopeptide ( inh cell wall ของ bact )
Vancomycin
ยา antibact กลุ่ม glycopeptide ( inh cell wall ของ bact )
Vancomycin
Vancomycin
ไม่มี beta lactam ring
เป็น drug of choice ของ MSRA

ยา antibact กลุ่ม glycopeptide ( inh cell wall ของ bact )
Vancomycin
Vancomycin
ไม่มี beta lactam ring
เป็น drug of choice ของ MSRA

กลไกการออกฤทธิ์ ของ vancomycin
Inh การสังเคราะห์ โดย inh ที่ transglycosylase + inh elongation of peptidoglycan + inh cross linking ต่างกับ penicillin ตรงที่ pen inh ที่ transpeptidase
Antibact active : vancomycin
-ใช้กับ แกรมบวกหรือ ลบก็ได้ แต่แกรมบวกดีกว่า
-ทนต่อ enz beta lactamase ใช้กับคนที่ดื้อต่อ methicillin
- มัก ใช้ร่วมกับ gentamycin streptomycin ที่ไวต่อแกรมลบ ได้ฤทธิ์ดีขึ้น เป็น cidal + cidal >> synergistic
Pharmacokinetic : vancomycin
- ฉีดเท่านั้น ดูดซึมไม่ดีในทางเดินอาหาร
- ผ่านเข้าสมอง กระจายตัวใน CSF ได้ดี เข้า tissue ก็ได้
- เป็นพิษต่อไตสูงมาก
Clinical use : vanvomycin
ใช้ mrsa ที่ดื้อต่อ methicillin
Enterococcal endocarditis
Meningitis
Adverse : vancomycin
- Phlebitis
- Red man / red neck syndrome : บวมตามเส้นเลือดที่ยาไหลผ่าน
- เป็นพิษต่อไตและหู : ยาไปสะสมอยู่ภายในหูชั้นในและกลาง ไม่ให้ในเด็กทารก
- ใช้ใน รพ เท่านั้น
- ถ้าใช้กับ aminoglycoside ให้ฉีดทีล่ะตัว ไม่งั้นจะตกตะกอน >> เกิด clot ในหลอดเลือด
ยากลุ่มที่ 2 : inh protein synthesis
Inh ที่ 50s : tetrecycline , aminoglycoside
30s : chloram, macrolide, clindamycin

ทุกตัวเป็น broad และ bacteriastatic ยกเว้น aminoglycoside
Antibact active : vancomycin
-ใช้กับ แกรมบวกหรือ ลบก็ได้ แต่แกรมบวกดีกว่า
-ทนต่อ enz beta lactamase ใช้กับคนที่ดื้อต่อ methicillin
- มัก ใช้ร่วมกับ gentamycin streptomycin ที่ไวต่อแกรมลบ ได้ฤทธิ์ดีขึ้น เป็น cidal + cidal >> synergistic
Pharmacokinetic : vancomycin
- ฉีดเท่านั้น ดูดซึมไม่ดีในทางเดินอาหาร
- ผ่านเข้าสมอง กระจายตัวใน CSF ได้ดี เข้า tissue ก็ได้
- เป็นพิษต่อไตสูงมาก
Clinical use : vanvomycin
ใช้ mrsa ที่ดื้อต่อ methicillin
Enterococcal endocarditis
Meningitis
Adverse : vancomycin
- Phlebitis
- Red man / red neck syndrome : บวมตามเส้นเลือดที่ยาไหลผ่าน
- เป็นพิษต่อไตและหู : ยาไปสะสมอยู่ภายในหูชั้นในและกลาง ไม่ให้ในเด็กทารก
- ใช้ใน รพ เท่านั้น
- ถ้าใช้กับ aminoglycoside ให้ฉีดทีล่ะตัว ไม่งั้นจะตกตะกอน >> เกิด clot ในหลอดเลือด
ยากลุ่มที่ 2 : inh protein synthesis
Inh ที่ 50s : tetrecycline , aminoglycoside
30s : chloram, macrolide, clindamycin

ทุกตัวเป็น broad และ bacteriastatic ยกเว้น aminoglycoside
Aminoglycoside
โครงสร้างคล้ายน้ำตาล ตัวใหญ่ เข้าเซลล์ได้ไม่ดี รักษาติดเชื้อในกระแสเลือด only !!
Antibact active : vancomycin
-ใช้กับ แกรมบวกหรือ ลบก็ได้ แต่แกรมบวกดีกว่า
-ทนต่อ enz beta lactamase ใช้กับคนที่ดื้อต่อ methicillin
- มัก ใช้ร่วมกับ gentamycin streptomycin ที่ไวต่อแกรมลบ ได้ฤทธิ์ดีขึ้น เป็น cidal + cidal >> synergistic
Tetracyclin : inh protein
- Tetracyclin, doxycyclin, minocyclin
- ใช้ได้ทั้งแกรมบวกและลบ ทั้ง intra และ aerobes เช่น ricketsia, chlamydia, mycoplasma, protozoa ใช้ได้ใน salmonela
Tetracyclin
- ชอบจับกับประจุ 2+ หลีกเลี่ยงการทานพร้อม antacid / นม >> ตกตะกอน
- ชอบจับกับแคลเซียมที่ฟัน
- ยาผ่านรกและนมได้
- doxycycline, tigecycline, neomycin
Clinical used : tetra
Vacuum your bed room
- vibrio : drug of choice
- acne
- chlamydia
- ureaplasma
- urealyticum
- mycoplasma
- brucellosis
- rickettsia
Adverse: tetra
ไม่ใช้ในเด็ก พิษต่อตับไต ลำไส้เคลื่อนไหว ไวต่อแสง
Chloram : inh protein
Bacteriastatic เป็น broad sprectrum ใช้ในยาหยอดตา
Adverse : gray baby syndrome
เป็น enz inhibitor : ลดโดส phenytoin, chlorpropamide, warfarin

Drug of choice : salmonella
Pharmacokinetic : vancomycin
- ฉีดเท่านั้น ดูดซึมไม่ดีในทางเดินอาหาร
- ผ่านเข้าสมอง กระจายตัวใน CSF ได้ดี เข้า tissue ก็ได้
- เป็นพิษต่อไตสูงมาก
Clinical use : vanvomycin
ใช้ mrsa ที่ดื้อต่อ methicillin
Enterococcal endocarditis
Meningitis
Adverse : vancomycin
- Phlebitis
- Red man / red neck syndrome : บวมตามเส้นเลือดที่ยาไหลผ่าน
- เป็นพิษต่อไตและหู : ยาไปสะสมอยู่ภายในหูชั้นในและกลาง ไม่ให้ในเด็กทารก
- ใช้ใน รพ เท่านั้น
- ถ้าใช้กับ aminoglycoside ให้ฉีดทีล่ะตัว ไม่งั้นจะตกตะกอน >> เกิด clot ในหลอดเลือด
ยากลุ่มที่ 2 : inh protein synthesis
Inh ที่ 50s : tetrecycline , aminoglycoside
30s : chloram, macrolide, clindamycin

ทุกตัวเป็น broad และ bacteriastatic ยกเว้น aminoglycoside
Aminoglycoside
โครงสร้างคล้ายน้ำตาล มีขั้วสูง ตัวใหญ่ เข้าเซลล์ได้ไม่ดี รักษาติดเชื้อในกระแสเลือด only !!
General properties : aminoglycosidem
- ลงท้ายด้วย mycin, micin
- Bacteriacidal จับแบบ irreversible 30s
- โมเลกุลมีขั้วสูง(เข้าเซลล์ไม่ได้ ต้องฉีด) จับแล้ว เซลล์แตก
- ติดเชื้อ aerobic gram neg bact only !! >> ต้องเป็น bacilli , aerobic, ออกฤทธิ์ได้ดีในเบส และมี oxygen
- therapeutic index แคบ
- ไม่ไป cns และตา
- เป็นพิษต่อไตและหู
- ไม่ใช้กับ intracellular pathogen
- neuromuscular blockage : ถ้าร่วมกับยาชาและยาสลบ ในการผ่าตัด จะทำให้เกิด paralysis >> อาจทำให้หยุดหายใจ แก้โดย ให้ Ca หรือ acetyl choline esterase inhibitor ( vagostigmine, neostigmine )
Mech : aminoglycoside
Inh การสร้างโปรตีน
Inh การถอดรหัส
เอาตัวผิดมาจับ อ่านผิด สังเคราะห์ต่อไม่ได้
Dose : amino
- เป็น post antibiotic effect คือ ถึงยาจะลดระดับลงต่ำ ก็ยังเห็นผลการรักษาอยู่
- การให้ยาแบบสูงๆครั้งเดียว อตร น้อยกว่า น้อยๆหลายๆครั้ง
Clinical use : amino
ใช้เมื่อไม่มีอะไรให้ใช้แล้ว
ใช้ร่วมกับ beta lactam จะเพิ่มฤทธิ์ ในการฆ่าแกรมบวก synergism แกรมลบ
Macroride : inh protine systhesis
- มี lactone ring ในสูตรโครงสร้าง
- โมเลกุลใหญ่ผ่านเข้าออกเซลล์ช้า
- มี double bond มาก >> แสดงว่าผ่านเข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์ได้ดี >> รักษา intracellular pathogen ได้ดี
- รักษาได้ดีทั้งในblood และ tissue
- มีทั้งฉีด กิน ดม หยอด
- เรียงตาม gen : erythro, clarithomycin, azithromycin ( ราคาเพิ่ม พิษลด )
- เป็น broad
- ใช้รักษา chlamydia ในคนที่แพ้ tetra หรือ ท้อง
- กำจัด campylobactor, H. Drucreyi (แผลริมอ่อน), H. Pylori, enterobacteria
Adverse effect : macrolide
รบกวนทางเดินอาหาร, muscle cl amping, คนไข้โรคตับต้องปรับขนาดยา
Erythromycin : macrolide
- ไม่ทนต่อกรดในทางเดินอาหารต้องเคลือบด้วย estolate >> แต่อาจแพ้ เกิด acute cholestatic jaundice
- เป็น enz inh : inh CYP 450 ถ้าเป็นยาที้โดน cyp450 ทำลาย จะมียาเพิ่มขึ้น เช่น corticosteroid, digoxin
- กินร่วมกับ anticoagulant > bleeding
- ใช้ร่วมกับ theophyillin ยาขยายหลอดลม โอกาสเกิดพิษสูง
- drug of choice > corynebacterium infection เช่น diphtheria
- ใช้ใน community acquire pneumonia
- ใช้เมื่อแพ้ penicillin
- เป็น prophylaxis endocarditis
Macroride : inh protine systhesis
- มี lactone ring ในสูตรโครงสร้าง
- โมเลกุลใหญ่ผ่านเข้าออกเซลล์ช้า
- มี double bond มาก >> แสดงว่าผ่านเข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์ได้ดี >> รักษา intracellular pathogen ได้ดี
- รักษาได้ดีทั้งในblood และ tissue
- มีทั้งฉีด กิน ดม หยอด
- เรียงตาม gen : erythro, clarithomycin, azithromycin ( ราคาเพิ่ม พิษลด )
- เป็น broad
- ใช้รักษา chlamydia ในคนที่แพ้ tetra หรือ ท้อง
- กำจัด campylobactor, H. Drucreyi (แผลริมอ่อน), H. Pylori, enterobacteria
Therapeutic used : fluoroquinolone
- ควรเริ่มจาก 1 gen
- ถ้ามีปัญหา renal : gemifloxacin, moxifloxacin
- รักษาหนองในแท้
- ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
- prostatitis
- ท้องเสียจาก enterotoxigenic E.coli
- ยากระจายตัวได้ดีใน bone joint soft tissue

- ไม่ให้ fluoroquinone ใน ท้อง เด็กเล็ก ให้นม จะไป inh การเจริญของกระดูก
Adverse : fluoroquinolone
Cvs : ยืด QT interval จนอาจเกิด arrhythmia
กลไกการดื้อยายาชนิดใ
สร้าง enz ขวางทางเข้า เอายาออก หลอกเปลี่ยนเป้า ก้าวเปลี่ยนเส้นทาง
- สร้าง enz เช่น เชื้อสร้าง beta lactamase มาทำลาย ring

- เปลี่ยนแปลงการเข้าออกของยา : ทำให้ยามีโมเลกุลเกะกะ หรือสร้าง pump เอายาออกเร็วขึ้น เช่น tetracycline, polymyxin, aminoglycoside, amikacin

- เชื้อเปลี่ยนแปลงโครงสร้างที่ยาจะมาจับ เช่น erythromycin, penicillin + cephalosporin

- เปลี่ยนนแปลงหนทางใหม่ในการสร้าง folic acid เพื่อหนี : sulfonamide, trimethoprim
ยาที่ดื้อยาได้ทุกกลไกเลย คือ
Penicillin , cephalosporin
Empiric antibacterial therapy
ให้ยา broad ในขณะที่ยังไม่รู้เชื้อแน่ชัด
AntiTB
มียา 4 ตัวใน 1 สูตร
ให้ 2 4 6 12 18 เดือน
การให้ยามีทั้ง first line และ second line
First line drug ใน anti TB
อีไล่ไอไปซะ

- isoniazid (INH)
- rifampicin (RIF)
- ethambutal
- pyrazinamide
Izoniazid
- รักษา TB ดีสุด
- inh mycolic acid systhesis ที่จะเป็น cell wall ของเชื้อ
- เป็นทั้ง static และ cidal
- ระวัง hepatitis, peripheral neuropathy ยาคล้าย vit B6 ต้องจ่าย บี 6 เพิ่ม อาการ คือ ชา คันตามผิวหนัง
- คนผิวเหลืองอาจต้องเพิ่มขนาดยา : fast acetylator
- ใช้กินเพื่อ prophylaxis
Rifampicin
- inh DNA synthesis โดย inh ที่ DNA dependent RNA polymerase
- กำจัดเชื้อทั้งใน tissue และกระแสเลือด
- อาจมีอาการ flulike syndrome, hepatotoxicity, orange colour body fluid
- ยาที่เป็น CYP3A inhibitor จะเพิ่มระดับยา
Ethambutol
- inh arabinosyl transferase ที่ใช้ในการสังเคราะห์ cell wall
- เป็น static ไม่ควรใช้เดี่ยวๆ
- เกิด retrobular neuritis ตาบอดสีแดงชั่วขณะ
- เป็นพิษที่ไต
Adverse effect : macrolide
รบกวนทางเดินอาหาร, muscle cl amping, คนไข้โรคตับต้องปรับขนาดยา
Pyrazinamide
- Inh mycolic synthesis
- hepatotoxicity, hyperuricemia, acute gouty arthritis, ผิวหนังไวต่อแสง
Second line TB
ไม่ค่อยใช้ นอกจากจะดื้อ first line เช่น cycloserine, ethionamide, aminoglycoside
Drug used in leprosy
- Dapsone + other sulfones : inh folate synthesis คือ inh dihydrofolate synthetase, เกิด hemolysis / GI upset / rash แบบ SJS ถ้าแพ้

- rifampin : inh RNA systhesis อาจทำให้เกิด flulike syndrome, hepatotoxicity, orange colour body fluid

- clofaximine : อนุพันธ์ของสีย้อม phenazine dye ยากระจายตัวได้ดีใน ตับ ไต ม้าม ไขกระดูก ครึ่งชีวิต 2 เดือน

- ปจบ มี multidrug therapy (MDT) แผงยารักษาโรคเรื้อนที่คล้ายยาคุม
Erythromycin : macrolide
- ไม่ทนต่อกรดในทางเดินอาหารต้องเคลือบด้วย estolate >> แต่อาจแพ้ เกิด acute cholestatic jaundice
- เป็น enz inh : inh CYP 450 ถ้าเป็นยาที้โดน cyp450 ทำลาย จะมียาเพิ่มขึ้น เช่น corticosteroid, digoxin
- กินร่วมกับ anticoagulant > bleeding
- ใช้ร่วมกับ theophyillin ยาขยายหลอดลม โอกาสเกิดพิษสูง
- drug of choice > corynebacterium infection เช่น diphtheria
- ใช้ใน community acquire pneumonia
- ใช้เมื่อแพ้ penicillin
- เป็น prophylaxis endocarditis
Antibact : inh nucleic synthesis
ส่วนใหญ่รักษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ทางเดินปัสสาวะ
Inh nucleic : inh folic acid synthesis
- sulfonamide ( ดื้อเกือบหมด ), trimethoprime
- ไม่มีใช้เดี่ยว ๆ มักผสม : sulfamethoxazole + trimethoprim >> cotrimoxasole ( bactrim แก้ท้องเสีย )
Sulfonamide
- ใช้ได้ทั้งติดเชื้อใน tissue , body fluid
- ผ่านรกได้
- ในเด็กเล็ก จะทำให้ เกิดเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ( kernicterus ) เนื่องจาก ยาชอบจับกับ albumin ทำให้เกิด free bilirubin >> ไปที่สมอง
- ถูก metabolite โดย acetylated และ glucuronidated ทางไต
- from เป็น crystal ได้ ที่ท่อไต ต้องกินน้ำตามเยอะๆ >> ป้องกัน นิ่ว หรืออาจให้ยาที่เป็นด่าง
- ให้ร่วมกับ pyrimethine : bacteriacidal
Clinical used : sulfonamide
- UTI, GI, เพศสัมพันธุ์, acne vulgaris
- ป้องกัน pneumocystis carinii
Adverse : sulfonamide
- นิ่ว
- aplastic anemia / RBC abnormal
- SJS
- kernicterus พบในคนดำเยอะ
Inh nucleic : fluoroquinolone
- Inh การสังเคราะห์ดีเอ็นเอของแบคทีเรีย
- ยาจะไป inh ที่ dihydropteroate syntase ทำให้ PABA ไม่ถูกเปลี่ยนเป็น dihydrofolic acid ( ยาหน้าตาเหมือน paba )
- เพิ่มยา trimethopprim inh dihydrofolate reductase ทำให้ไม่เกิด tetrahydrofolic acid ไม่เกิด DNA

- ถ้าให้ร่วมกันจะมีฤทธิ์ bacteriacidal
- inh แกรมบวกลบ ใช้เหมือน sulfonamide แต่ไม่ effective ต่อ ricketsia + ออกฤทธิ์น้อยต่อ anaerobe เหมือน aminoglycoside
fluoroquinolone
1 gen : norfloxacin เป็น broad static ในขนาดต่ำ cidal ในขนาดสูง รักษาทั้ง + - anaerobe

2 gen : ciprofloxacin, enoxacin, lomeofoxacin, levofoxacin, pefloxacin จำเพาะ ต่อแกรม + มากขึ้น รักษาการติดเชื้อ GI ได้ดี เช่น enterobacter, pseudomonas

3 gen : gatifloxacin, gemifloxacin, moxifloxacin จำเพาะต่อแกรมบวกมากสุด แต่ยังแพ้ penicillin

ใช้ใน intracellular pathogen เช่น TB หรือ mycobacterium avium complex ใช้เป็น 2 line drug